บทที่ 1 เซต
เซต
เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ
และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม
ราใช้เครื่องหมายปีกกา “{ }” แสดงความเป็นเซต
และสิ่งที่อยู่ภายในปีกกา
เราเรียกสมาชิกของเซต
ประเภทของเซต
1. เซตจำกัดคือเซตที่มีสามชิกเป็นจำนวนเต็มบวก
หรือศูนย์
เช่น A = {1,2,3,4} หมายถึงเซต A มีจำนวนสมาชิด4ตัวคือ อ่านเพิ่มเติม
เช่น A = {1,2,3,4} หมายถึงเซต A มีจำนวนสมาชิด4ตัวคือ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 2 การให้เหตุผล
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญมีอยู่ 2
วิธี คือ
3.1การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เป็นการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกต หรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ
แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป ซึ่งข้อสรุปที่ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง
บทที่ 3 จำนวนจริง
เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ ได้แก่
- เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก
เขียนแทนด้วย I
I =
{1,2,3…}
- เซตของจำนวนเต็มลบ เขียนแทนด้วย
I
- เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I
I =
{ …,-3,-2,-1,0,1,2,3…}
- เซตของจำนวนตรรกยะ :
เซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน โดยที่ a,b เป็นจำนวนเต็ม และ b = 0
บทที่ 4 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์
ในชีวิตประจำวันเรามักพบสิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ
เช่น สินค้ากับราคาของสินค้า คนไทยทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวประชาชนเป็นของตนเอง
ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งสองสิ่งที่เกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
สำหรับในวิชาคณิตศาสตร์มีสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม